คุณประโยชน์

ปลอดภัยจากแบคทีเรียและไวรัส

นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Fujita Health ในประเทศญี่ปุ่นกล่าวในการแถลงข่าวเมื่อเร็วๆ นี้ว่าพวกเขาได้พิสูจน์แล้วว่าก๊าซโอโซนในระดับต่ำที่ความเข้มข้น 0.05-1.0 ppm มีประสิทธิภาพในการทำให้อนุภาคของโคโรนาไวรัสเป็นกลางโดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ 1.

โอโซนมีประสิทธิภาพในการต่อต้านโคโรนาไวรัส

โอโซนที่มีความเข้มข้นต่ำอาจเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้การแพร่กระจายของโคโรนาไวรัสลดลงในสถานพยาบาล เช่น ห้องตรวจ และพื้นที่พักคอย ตามที่นักวิจัยชาวญี่ปุ่นกล่าว การพัฒนาใหม่นี้ช่วยให้ผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพ ครอบครัว และธุรกิจต่างๆ มีวิธีการทางเลือกในการฆ่าเชื้อ และดูแลสถานที่ของพวกเขาให้ปลอดภัยจากไวรัสโดยไม่ต้องใช้สารเคมี

Iการใช้สารเคมีในการฆ่าเชื้อมากขึ้นทำให้เกิดพิษโดยไม่ได้ตั้งใจ

นับตั้งแต่เริ่มต้นของการระบาดใหญ่ของ Covid-19 ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งสหรัฐอเมริกา (CDC) ได้สังเกตเห็นการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของการได้รับสารพิษที่เกี่ยวข้องกับยาฆ่าเชื้อและผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในหมู่เด็กเล็กโดยไม่ได้ตั้งใจ การใช้สารเคมีในการฆ่าเชื้อที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบจากสารเคมีที่จะมีต่อสุขภาพของเรานั้นกลายเป็นเรื่องที่น่ากังวล

วิธีการแก้ปัญหาที่ยั่งยืนและปราศจากสารเคมี

ด้วยเทคโนโลยี Cerafusion™ ของ Medklinn จะฆ่าเชื้อในอากาศและพื้นผิวโดยการสร้าง Active Oxygen (ประกอบด้วยไอออนลบ และโอโซนในระดับที่ปลอดภัย) ทำให้อากาศ และพื้นผิวในพื้นที่อยู่อาศัยของคุณถูกฆ่าเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ต้องใช้สารเคมีใดๆ

 

ปลอดภัยอยู่เสมอ

นั่นหมายความว่าการใช้งาน Medklinn Air+Surface Sterilizer ในพื้นที่ปิดภายในอาคาร จะทำให้ 99.9% ของไวรัส4 และแบคทีเรีย5 สามารถถูกกำจัดได้อย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน จากทั้งในอากาศที่ใช้ร่วมกัน และที่สำคัญที่สุดคือบริเวณพื้นผิวทั้งหมดที่คุณหรือใครก็ตามสัมผัส เช่น ผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้ ตุ๊กตาผ้า เครื่องนอน เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือ และเครื่องใช้ทั่วไป

แหล่งข้อมูลอ้างอิง
:

1. Test Conduct by HygCen Germany GmbH Schewrin, Germany, Dr. Med. Univ. S. Werner, Medical Specialist for Hygiene and Environmental Medicine.

2. Japan Researchers say Ozone Effective in Neutralising Coronavirus.

3. Chunchieh Tseng and Chihshan Li (2008). Inactivation of Surface Viruses by Gaseous Ozone. Journal of Environmental Health, 70, No.10 (June2018).

4. Gérard V. Sunnen, M.D, “MERS, SARS, and emerging Coronaviruses: theoretical considerations and a proposal for critical care parenteral oxygen/ozone therapy”, May 2013, revised 2014.

5. Test Conducted by Molecular Research Laboratory, Department of Medical Microbiology, Faculty of Medicine University Malaya, Kuala Lumpur, Malaysia.

6. Test Conducted by Associate Professor Sek C. Chow, Dr Med Sc, Registered Toxicologist (UK), Monash University, Sunway Campus.

Other References

7. A. M. Elvis and J. S. Ekta, “Ozone therapy: A clinical review”, Jan-Jun 2011.,

8. Process Engineering, “Ozone truths and myths”, Oct 2005.